ถ้าภาษา Programming เปรียบเสมือน Super Hero รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ตุลาคม 23, 2560 ถ้าเปรียบเทียบภาษาโปรแกรมมิ่งเหมือนกับ Super Hero รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น Admin24 กรกฎาคม 2563 เวลา 02:42Bangalore University BCOM 1st Year Result 2020Bangalore University BCOM 2nd Year Result 2020You’d outstanding guidelines there. I did a search about the field and identified that very likely the majority will agree with your web page.ตอบลบคำตอบตอบเพิ่มความคิดเห็นโหลดเพิ่มเติม... แสดงความคิดเห็น
ระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ ตอนที่ 4 ภาษาระดับสูงมาก (VERY HIGH-LEVEL LANGUAGE) พฤศจิกายน 17, 2559 ภาษาระดับสูงมาก (Very High-level Language) เป็นภาษารุ่นที่ 4 (4GLs : Fourth-Generation Languages) ลักษณะของภาษาเป็นภาษาธรรมชาติคล้ายกับภาษาพูดของมนุกษย์ จะช่วยในเรื่องของการสร้างแบบฟรอ์มบนหน้าจอ เพื่อจัดการเกี่ยวกับข้อมูลรวมไปถึงการออกรายงาน ซึ่งมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือนภาษารุ่นที่ 3 ตัวอย่างของภาษาในรุ่นที่ 4 ได้แก่ Informix-4GL Focus Sybase Ingres เป็นต้น ลักษณะของภาษาระดับสูง มีดังนี้ 1.เป็นภาษาแบบ Nonprocedural คือ ผู้พัฒนาโปรแกรมไม่จำเป็นจะต้องเขียนโปรแกรมในทุกส่วนเอง เพียงแต่กำหนดสิ่งต่างๆ ตามที่ต้องการแล้วให้คอมพิวเตอร์เป็นผู้กำหนดรายละเอียดต่างๆ ให้ เช่นการสร้างแบบฟอร์มการรับข้อมูลจากผู้ใช้งาน ผู้เขียนโปรแกรมเพียงแต่ทำการออกแบบหน้าตาของแบบฟอร์มนั้นบนโปรแกรมอิดิเตอร์ (Editor) นั้น และเก็บเป็นไฟล์ไว้ เมื่อจะเรียกใช้งานแบบฟอร์มก็เพียงแต่ใช้คำสั่งเปิดไฟล์นั้นขึ้นมาแสดงบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้โดยทันที ซึ่งต่างจากภาษาระดับที่ 3 ซึ่งเป็นแบบ Procedural ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเขียนรายละเอียดของโปรแกรมทั้งหมดว่าที่บรรทัดนี้ คอมลัมน์จะให้แสดงข้อความหรือข้อมูลอะไรออกมา ซ... อ่านเพิ่มเติม
ระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ ตอนที่ 1 ภาษาเครื่อง (MACHINE LANGUAGE) พฤศจิกายน 17, 2559 ภาษาคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาหรือมีวิวัฒนาการมาโดยลำดับ โดยจะสามารถแบ่งออกเป็นยุคของภาษา (Generation) ซึ่งในยุคหลังๆ จะมีการพัฒนาภาษาให้มีคความสะดวกในการอ่าน และเขียนได้ง่ายขึ้นกว่าภาษาในยุคแรกๆ เนื่องจากจะมีโครงสร้างภาษาใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษหรือภาษาที่มนุษย์เข้าใจได้ แสดงระดับภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษคอมพิวเตอร์สามารภแข่งออกได้เป็น 5 ยุค ดังนี้ 1.ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาที่มนุษย์เข้าใจได้ยาก เพราะใช้เลขฐานสองแทนข้อมูลคือ (0 และ 1) แทนลักษณะของการปิด (Off) และเปิด (On) และคำสั่งต่างๆ ทั้งหมดจะเป็นภาษาที่ชึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือหน่วยประมวลผลที่ใช้ คือแต่ละเครื่องก็จะมีรูปแบบของคำสั่งเฉพาะของตนเอง ซึ่งนักเขียนโปรแกรมในสมัยก่อนต้องรู้จักวิธีที่จะรวมตัวเลขเพื่อแทนคำสั่งจ่างๆเป็นภาษาที่มีความยุ่งยากในการพัฒนามาก ภาษาชนิดนี้ ได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ อ่านเพิ่มเติม
ระดับของภาษาคอมพิวเตอร์ ตอนที่ 2 ภาษาแอสเซมบลี (ASSEMBLY LANGUAGE) พฤศจิกายน 17, 2559 2.ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็นภาษาที่มีการใช้ตัวอีกษรในภาษาอังกฤษมาแทนคำสั่งที่เป็นเลขฐานสอง (0,1) และเรียกอักษรสัญลักษณ์ที่เป็นคำสั่งนี้ว่า สัญลักษณ์ข้อความ (mnemonic codes) เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจำมากกว่าภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลียังจัดเป็นภาษาระดับต่ำ (Low-level Language) มีการใช้สัญลักษณ์มาใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น สัญลักษณ์เหล่านี้จะไม่ใช่คำที่มีความหมายในภาษาอังกฤษ แต่สามารถทำให้นักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้สะดวกสะบายมากขึ้น เนื่องจากไม่ต้องจดจำเลข 0 และ 1 ของเลขฐานสองอีกนอกจากนี้ภาษาแอสเซมบลี ยังให้ผู้เขียนใช้ตัวแปรที่ตั้งขึ้นมาเพื่อการเก็บค่าข้อมูลใดๆ เช่น X, Y, RATE หรือ TOTAL แทนการอ้างถึงตำแหน่งที่เก็บข้อมูลจริงๆ ภายในหน่วยความจำด้วย การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสเซมบลีนั้น เมื่อนำมาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถที่จะเข้าใจภาษาแอสเซมบลีได้ ขึงต้องมีการแปลภาษาแอสเซมบลีนั้นให้กลายเป็นภาษาเครื่องก่อน โดยใช้ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีที่เรียกว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) เป็นตัวแปล นอกจากนี้ผู้ที่จะเขียนโปรแกรมภาษาแอส... อ่านเพิ่มเติม
Bangalore University BCOM 1st Year Result 2020
ตอบลบBangalore University BCOM 2nd Year Result 2020
You’d outstanding guidelines there. I did a search about the field and identified that very likely the majority will agree with your web page.